Page 7 - 2024_04-07_News Letter
P. 7

5


                                                      Animal Diplomacy


                                                                                              ทัชชา พรรณรักษ์

                       จากกระแสคนไทยร่วมใจกันเรียกร้องให้มีการส่งพลายศักดิ์สุรินทร์  ช้างที่ท่าหน้าที่ทูตสันถวไมตรี

               ณ ประเทศศรีลังกากว่า 20 ปีกลับบ้านเกิดที่เมืองไทยจนส่าเร็จเมื่อกลางปีที่แล้ว ต่อเนื่องมาจนถึงข่าวคนเกาหลี
               รวมตัวกันไปส่ง ฟูเปา แพนด้าน้อย กลับเมืองจีนบ้านเกิดด้วยความอาลัยในช่วงต้นเดือนที่ผ่านมา

               วันนี  CURef จะมาพูดคุยถึงสัตว์ที่ถูกใช้เป็นทูตสันถวไมตรีกัน Animal Diplomacy
               ท้าไมเราถึงต้องส่งสัตว์ประจ้าชาติ หรือสัตว์ประจ้าถิ่นของเราไปให้ประเทศอื่นล่ะ?

                       ในสมัยโบราณ มีการส่งเครื่องราชบรรณาการระหว่างประเทศที่ต้องการผูกมิตรหรือสร้างสัมพันธ์อันดี
               แสดงถึงความเคารพนับถืออย่างเป็นมิตรต่อกัน  โดยเครื่องราชบรรณาการมักเป็นสิ่งของมีค่า หรือมีมูลค่าสูง เช่น

               ทองค่า, เงิน, ผ้าไหมผ้าแพร, เขาสัตว์ หรือแม้แต่ธัญพืช สมุนไพรประจ่าถิ่นของประเทศนั น ๆ ในปัจจุบันก็ยังมีการ
               ส่งตัวแทนเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างประเทศอยู่ เพียงแต่ปรับเปลี่ยนเป็นการส่งสิ่งมีชีวิตประจ่าถิ่นหรือประจ่า
               ภูมิภาค ที่มีความโดดเด่นเฉพาะตัว เป็นเอกลักษณ์ หาดูได้ยาก เป็นตัวแทนประเทศไปในฐานะทูตสันถวไมตรี

               เพิ่มเข้ามา ซึ่งถือเป็นการประชาสัมพันธ์ประเทศของตน เป็น Soft power ที่มีอิทธิพลต่อประชนทั่วโลกได้อย่างดี
               ตัวอย่างสัตว์ที่ถูกส่งไปเป็นทูตสันถวไมตรีของประเทศต่าง ๆ

                      1.  ไทย : ช้าง
                      2.  จีน : แพนด้า

                      3.  ออสเตรเลีย : โคอาลา, จระเข้, ตุ่นปากเป็ด
                      4.  อินโดนิเซีย : มังกรโคโมโด

                      5.  เกาหลี : สุนัข
               โดยสัตว์ที่ยกตัวอย่างทั งหมดนี  จ่าเป็นต้องไปอาศัยอยู่ในที่ใหม่ บางชนิดเป็นสัตว์ป่าที่อยู่ตามธรรมชาติ
               การถูกส่งไปใช้ชีวิตในต่างแดน ต่างภูมิประเทศ และอยู่ภายใต้พื นที่ที่จ่ากัด (ส่วนใหญ่จะอาศัยอยู่ในสวนสัตว์)

               ย่อมก่อให้เกิดความเครียด ความไม่สบายตัว และต้องใช้เวลาปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมใหม่เป็นเวลานาน

               ทูตสันถวไมตรีพวกนี  จึงมักจะมีอายุสั นกว่าอายุขัยตามปกติ หรือเกิดการเจ็บป่วยได้ง่าย   
                       ปัจจุบันเกิดการตั งค่าถามถึงสวัสดิภาพของสัตว์ที่เป็นทูตสันถวไมตรีเพิ่มมากขึ น และเริ่มมีประชาชน

               จ่านวนมากไม่เห็นด้วยต่อการใช้สัตว์เป็นทูตสันถวไมตรีอีกต่อไป ควรปล่อยให้สัตว์ทุกตัวได้ด่ารงชีวิตในถิ่นที่อยู่
               ที่ก่าเนิด เพื่อการอนุรักษ์อย่างแท้จริง CURef ขอส่งก่าลังใจให้ทูตสันถวไมตรีทุกตัวที่อยู่ในประเทศต่าง ๆ

               ทั่วทุกมุมโลกมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดี ได้รับการดูแลอย่างเหมาะสม และขอสนับสนุนการอนุรักษ์สัตว์อย่างถูกต้อง
               ต่อไป
               #RSSHottopic #CURef #Animaldiplomacy #ทูตสันถวไมตรี
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12