Page 9 - 2024_04-07_News Letter
P. 9

7


                                         Earworm…..เพลงฮิตติดหูสุดร้าคาญใจ


                                                                                             ก้องเวหา อินทรนุช



                       เชื่อว่าหลายคนคงมีประสบการณ์ที่เพลงเล่นซ ่า ๆ ติดอยู่ในหัว พยายามจะเอาออกจากหัวอย่างไรก็ไม่หลุด

               ออกไปสักที ซึ่งท่าให้เกิดความร่าคาญใจขณะท่างานหรือพยายามโฟกัสกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งอยู่ วันนี ทาง CURef
               จะพาทุกคนไขข้อข้องใจเกี่ยวกับเจ้าเพลงเล่นซ ่า ๆ อยู่ในหัวนี กัน
                       ประสบการณ์ที่เพลงเล่นซ ่าในหัวหรือรู้จักอย่างแพร่หลายในชื่อ “earworm” คือความไม่สามารถหลบ

               หลีกจากท่อนเพลงหนึ่งที่เล่นซ ่าในหัว ซึ่งเป็นเรื่องคลาสิกที่พบได้ทั่วไป และไม่ถือว่าเป็นอาการทางจิตแต่อย่างไร
               โดยต้นเหตุของลักษณะดังกล่าวเกิดขึ นได้จากปัจจัยที่หลากหลาย เช่น การฟังเพลงวนซ ่าไปมา ภาวะทางอารมณ์

               โครงสร้างของเพลง หรือภูมิหลังทางการรับฟังเพลงส่วนตัว นอกจากนี  ยังพบว่าสมองในส่วน Auditory Cortex
               มีการท่างานขณะจินตนาการเพลง ซึ่งเป็นการท่างานในรูปแบบเดียวกันกับการฟังเพลง จึงกล่าวได้ว่าการที่เกิด

               เพลงเล่นซ ่าในหัวอาจเกิดจากการท่างานของสมองส่วนดังกล่าวด้วย
                       ในด้านของเนื อเพลงที่เชื่อมโยงกับการเกิดเพลงเล่นซ ่าในหัว จากการศึกษาวิเคราะห์เกี่ยวกับท่วงท่านอง

               (melodies) ชี ให้เห็นว่า มีลักษณะทางท่วงท่านอง (melodic feature) บางอย่างที่เชื่อมเข้ากับความกระสัน
               ในการร้องเพลงของผู้คน โดยลักษณะของเพลงเหล่านี มักมีจังหวะที่รวดเร็ว มีระดับเสียง (pitch) คล้ายกับเพลง
               ยอดนิยม มีโน้ตเสียงขึ นลง ดังนั น จึงกล่าวได้ว่า การเกิดเพลงเล่นซ ่าในหัวอาจถูกกระตุ้นด้วยลักษณะภายในของ

               เนื อเพลงเหล่านี
               แล้วมีวิธีจัดการกับเพลงเล่นซ้้าในหัวหรือไม่?

                       แน่นอนว่ามีวิธีการจัดการเพลงที่เล่นซ ่าในหัว แม้อาจจะไม่ได้เด็ดขาดแต่ก็พอที่จะท่าให้โฟกัสกลับมา
               ซึ่งมี 5 วิธี คือ การเลี่ยงการฟังเพลงนั น การฟังเพลงให้จบ การเคี ยวหมากฝรั่ง การร้องเพลงอื่นดัง ๆ และการจด

               จ่อสมาธิกับสิ่งอื่น จากวิธีเหล่านี จะช่วยดึงความสนใจออกจากเพลงที่เล่นซ ่าในหัว นอกจากนี  การลดการฟังเพลง
               ที่อาจจะท่าให้เกิดเพลงเล่นก็อาจจะเป็นอีกหนึ่งวิธีที่จะได้รับความสงัดในหัวของเรากลับคืนมา

               #RSSHottopic #CURef #เพลงฮิต #เพลงติดหู #earworm

               นอกจากนี้ ถ้าใครสนใจประเด็นเรื่อง “Earworm” เราก็มีบทความที่เกี่ยวข้องมาแนะน้าด้วยตามลิงก์ด้านล่างนี้เลย

               1. Musical hallucinations, musical imagery, and earworms: A new phenomenological survey
               https://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S1053810018301600
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14