Page 11 - 2024_04-07_News Letter
P. 11
9
ค้าสอนของหลวงปู่ ติช นัท ฮันห์ ที่สามารถน้ามาฮีลใจได้ในการใช้ชีวิตยุค Digital
กวินธร ชุมทอง
หลวงปู่ ติช นัท ฮันห์ ถือก่าเนิดในภาคกลางของเวียดนามในปี 1926 ศิษยานุศิษย์ของท่าน เรียกท่านว่า
Thay (ไถ่) ซึ่งหมายถึง ครู ในภาษาเวียดนาม ช่วงสงครามเวียดนามท่านตัดสินใจที่จะด่าเนินเส้นทางแห่งความสงบ
พร้อมกับการช่วยเหลือส่วนรวมไปพร้อมกัน นับแต่นั นเป็นต้นมา จึงได้เกิด Engaged Buddhism
หรือการประยุกต์หลักค่าสอนของพระพุทธเจ้ามาปรับใช้ในการด่าเนินชีวิต
ในระหว่างทศวรรษ 1960 ท่านได้ก่อตั ง Van Hanh Buddhist University หรือมหาวิทยาลัยสงฆ์
“หว่านหั่ญ” ที่เมืองไซ่ง่อน และได้จัดท่าวารสารที่ส่งเสริมสันติภาพในการอยู่ร่วมกันในสังคม ต่อมาในปี 1966
มาร์ติน ลูเธอร์ คิง จูเนียร์ ได้พบกับท่าน และต่อมา เขาได้เสนอชื่อท่านเข้ารับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ
อย่างไรก็ตาม เหตุการณ์นี เป็นจุดเริ่มต้นที่ท่าให้ทั งเวียดนามเหนือและเวียดนามใต้ขัดขวางไม่ให้ท่านกลับเข้า
ประเทศ ซึ่งนับเป็นการจากประเทศบ้านเกิดที่ยาวนานถึง 39 ปี
หลังจากที่ท่านถูกเนรเทศนั น ท่านไม่ได้ยุติการรณรงค์เพื่อสันติภาพของโลกแต่อย่างใด ท่านยังคง
เคลื่อนไหวให้ผู้น่าชาติตะวันตกยุติการท่าสงครามเวียดนาม และได้เชิญชวนผู้น่าชาวพุทธร่วมพิธีปาฐกถาว่าด้วย
สันติภาพที่กรุงปารีส ในปี ค.ศ.1969 และในช่วงทศวรรษ 1970 ท่านได้เริ่มศาสนกิจด้านการสอน อบรม
และได้เขียนหนังสือที่เกี่ยวกับศิลปะในการเจริญสติหลายเล่ม ในปี ค.ศ. 1975 ท่านได้ก่อตั งอาศรมมันเทศขึ น
ซึ่งต่อมาได้รับการขยับขยายมาทางตะวันตกเฉียงใต้ของฝรั่งเศส และถูกขนานนามว่า “หมู่บ้านพลัม”
(Plum Village) หากพิจารณาอย่างถี่ถ้วนแล้ว การถูกเนรเทศจากประเทศบ้านเกิดของท่านนั น เปรียบเสมือน
โอกาสทองในการเผยแผ่การเจริญสติและการท่าสมาธิในโลกตะวันตกก็ว่าได้
หมู่บ้านพลัมต้อนรับผู้คนจากทุกช่วงวัย ทุกเชื อชาติ ศาสนา หัวใจหลักในการปฏิบัติคือการรู้ตัวทั่วพร้อม
ในอากัปกิริยาและสิ่งที่ก่าลังกระท่าอยู่ (Mindfulness) เว็บไซต์ของหมู่บ้านพลัม ประเทศไทย
(www.thaiplumvillage.org.th) ได้อธิบายถึงหลักค่าสอนของหมู่บ้านพลัมไว้ว่า
“ หมู่บ้านพลัมต้อนรับผู้คนจากทุกวัย ทุกเชื้อชาติ ทุกรากเหง้าความเชื่อ เข้ามาร่วมการภาวนาที่พวกเขา
สามารถเรียนรู้ วิธีการปฏิบัติธรรม เช่น การเดินอย่างมีสติ การนั่งสมาธิ ภาวนากับการรับประทานอาหาร ผ่อน
คลายอย่างสมบูรณ์ ท างานอย่างมีสติ รวมทั้งการหยุด การยิ้ม และการหายใจอย่างมีสติ เหล่านี้ทั้งหมดล้วนแล้วแต่
เป็นการฝึกปฏิบัติ ทางพุทธศาสนาแต่โบราณ อันเป็นแก่นสารส าคัญที่พระอาจารย์ติช นัท ฮันห์ได้กลั่นกรองและ
พัฒนาเพื่อให้สามารถประยุกต์ใช้อย่างง่ายดายและมีพลังในความท้าทายและความยากล าบากแห่งยุคสมัยของพวก
เรา ”
หลังจากวันคล้ายวันเกิดปีที่ 88 ของท่านผ่านพ้นมาได้ราว 30 วัน ท่านมีอาการอาพาธด้วยเลือดออกใน
สมองอย่างรุนแรง ท่าให้ท่านไม่สามารถเทศนาสั่งสอนได้ ประกอบกับอาการอัมพาตเกือบทั งหมดของร่างกายซีก
ขวา ส่งผลให้พลานามัยของท่านทรุดลง แต่ท่านยังคงรักษากิจวัตรทางธรรมด้วยความสงบและใจที่ตั งมั่น เบิกบาน
ในบั นปลาย ท่านได้กลับไปจ่าวัด ณ วัดตื่อเฮี ยว ประเทศเวียดนาม และได้ตั งเจตจ่านงที่จะด่ารงธาตุขันธ์อยู่ที่นั่น
ตราบจนวาระสุดท้าย ในวันที่ 22 มกราคม 2022 ท่านได้มรณภาพลงอย่างสงบ ณ วัดตื่อเฮี ยว อัฐิธาตุของท่าน