Page 23 - 2024_04-07_News Letter
P. 23
21
ญี่ปุ่นวิจัย #ยาที่ท้าให้ฟันงอกใหม่ได้ หมดปัญหา ภาวะไร้ฟัน
ปณิธี เปรมสัตย์ธรรม
นักวิจัยมหาวิทยาลัยเกียวโต ร่วมกับนักวิทยาศาสตร์บริษัทโทเรเจม ไบโอฟาร์มา (Toregem
Biopharma) ได้ท่าการศึกษาและค้นพบยาที่สามารถท่าให้ฟันงอกขึ นใหม่ได้ โดยมีแผนทดลองกับมนุษย์ในเดือน
กันยายนนี หลังประสบความส่าเร็จกับหนูที่ไม่มีฟันตั งแต่ก่าเนิดมาแล้ว
ปกติการเจริญเติบโตของฟันขึ นอยู่กับปฏิกิริยาระหว่างสาร BMP (Bone Morphogenetic Protein)
กับการส่งสัญญาณระหว่างเซลล์ผ่านไกลโคโปรตีนที่เรียกว่า Wnt signaling และในร่างกายยังมีโปรตีน USAG-1
(Uterine Sensitization-Associated Gene-1) ซึ่งเป็นโปรตีนที่ยับยั งการเจริญเติบโตของฟัน โดยตัวยาที่คิดค้น
ขึ นนี จะเข้าไปปิดการท่างานของโปรตีน USAG-1 ไม่ให้ไปท่าปฏิกิริยากับสาร BMP ซึ่งมีหน้าที่กระตุ้นให้ร่างกาย
สร้างกระดูกและฟันใหม่
นักวิจัยได้น่ายาตัวนี ไปทดลองกับหนูและเฟอเรท (Ferret เป็นสัตว์เลี ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่งคล้ายกับ
พังพอน) เนื่องจากสัตว์ทั ง 2 ชนิดมีฟันสองชุดและมีโปรตีนยับยั งการเจริญเติบโตของฟันใกล้เคียงกับของมนุษย์
ซึ่งพบว่ายาสามารถท่าให้ฟันงอกขึ นใหม่ทั งซี่ได้จริง
ส่าหรับงานวิจัยนี จะด่าเนินการที่โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยเกียวโต มีแผนการทดลองระยะที่ 1 ในเดือน
กันยายน 2567 - สิงหาคม 2568 โดยฉีดตัวยาเข้าหลอดเลือดด่าให้กับผู้ป่วยเพศชายอายุระหว่าง 30 – 64 ปี ที่เคย
สูญเสียฟันกรามไปอย่างน้อย 1 ซี่ จ่านวน 30 คน หากการทดลองระยะที่ 1 ส่าเร็จลุล่วงไปด้วยดี ทีมวิจัยจะเริ่มการ
ทดลองระยะที่ 2 กับผู้ป่วยอายุระหว่าง 2 – 7 ปี ที่มีภาวะฟันหายอย่างน้อย 4 ซี่ (ภาวะฟันหาย หมายถึงการไม่มี
ฟันตั งแต่ก่าเนิด)
ในอนาคตหากเราเสียฟันแท้ไป แล้วมีฟันใหม่งอกขึ นอีกครั ง นอกจากความสุข ความสวยงาม ความมั่นใจ
และบุคลภาพที่ดีแล้ว ยังส่งผลต่อพฤติกรรมการพูด การบดเคี ยวอาหาร และร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรงขึ นอีกด้วย
CURef หวังให้งานวิจัยนี ส่าเร็จ และเกิดประโยชน์สูงสุดต่อคุณภาพชีวิตของทุกคนที่สูญเสียฟันไปค่ะ
#ภาวะฟันหาย #ท่าฟัน #ฟันปลอม #ฟันหลอ #ยาปลูกฟัน #Tooth #Dental #Dentist
สามารถอ่านบทความวิจัยเกี่ยวกับ “#ฟันงอกใหม่” เพิ่มเติมได้ที่
1. Regrowing a tooth: in vitro and in vivo approaches
https://www-sciencedirect-com.chula.idm.oclc.org/science/article/pii/S095506741930050X2.
2. The ins and outs of the evolutionary origin of teeth
https://onlinelibrary.wiley.com/doi/pdf/10.1111/ede.12099
3. Tooth Repair and Regeneration
https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC6244610/pdf/40496_2018_Article_196.pdf
4. Tooth replacement and putative odontogenic stem cell niches in pharyngeal dentition
of medaka (Oryzias latipes)
https://academic.oup.com/jmicro/article/63/2/141/1991653